วันจันทร์ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2558

บันทึกครั้งที่ 11 วันพุธที่ 25 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทิน

 เนื้อหาที่เรียน

         เก็บตกการนำเสนองานวิจัยและโทรทัศน์คร
     
เลขที่ 25 นำเสนอโรทัศน์ครู เรื่องรายการทอค์ด อะเบาว์ คิดส์ ตอนการสอนคณิตศาสตร์กับเด็กๆ อนุบาล 1
         การที่จะสอนเด็ก ต้องสอนผ่านของเล่น เพราะเด็กเล็กจะเรียนรู้ สี ขนาด รูปทรงแล้วถึงจะรู้จักสัญลักษณ์


เลขที่5 นำเสนอวิจัย เรื่องการเปรียบเทียบความพร้อมทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่จัดประสบการณ์โดยใช้เกมการ
     ศึกษาและเพลง 

เลขที่4 นำเสนอวิจัย เรื่อง ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่
     ใช้การสอนแบบะปฏิบัติจริงเป็นรายบุคคล โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล และให้เด็กทำงานไปตามลำดับความยากง่าย 

เลขที่ 6 นำเสนอวิจัย เรื่อง ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ  
  กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบเป็นกิจกรรมที่เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสในการทำกิจกรรม ตามความคิดและจินตนาการและ     เด็กยังได้ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์     
1. ด้านการสังเกตและการจำแนก  
 2.ด้านการเปรียบเทียบ  
3.ด้านการจัดหมวดหมู่


กิจกรรมตัวอย่าง

วิธีการสอน
ม้าลาย 2 ตัว 
กระต่าย 1 ตัว
ไก่       3  ตัว
มีขารวมกันทั้งหมดกี่ขา ?


-กิจกรรมต่อมาคือแบ่งกลุ่มทำมายแม็บในหัวข้อที่ตัวเองเลือกมี แตงโม กล้วย สุนัข ไก่
ส่วนประกอบของการทำมายแม็บ มีดังนี้
-ชนิด
-ล้กษณะ
-การดูแลรักษา
-ประโยชน์
-ข้อควรระวัง

ทักษะ
-การวางแผนในการทำการ
-การนำเสนอและการใช้ถ้อยคำต้องชัดเจน

วิธีการสอน
-เพื่อให้เรียนรู้ทักษะทางคณิตศาสตร์
-การใช้สื่อภาพในการประกอบในแผนการสอน





ประเมิน

สภาพห้องเรียน

เทคโนโลยีภายในห้องเรียนพร้อมต่อการใช้งาน เก้าอี้เพียงพอต่อจำนวนนักศึกษา 

ตนเอง

เข้าชั้นเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน แสดงความคิดเห็น และจดบันทึก สรุปเนื้อหาที่อาจารย์สอน

เพื่อน
เข้าชั้นเรียนตรงเวลา แสดงความคิดเห็น และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม

อาจารย์
อาจารย์ บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม การแต่งกายเรียบร้อย พูดเสียงดังชัดถ้อยชัดคำ เข้าสอนตรงเวลา และเปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม แสดงความคิดเห็น
บันทึกครั้งที่ 10วันศุกร์ที่ 20เดือน มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทิน

เนื้อหาที่เรียน
-จับฉลากแบ่งกลุ่มแบ่งกลุ่มละ 8 คน

เลือก  1  สาระ  -  แต่งนิทาน
                           -   คำคล้องจอง
                           -   ปริศนาคำทาย 

สาระที่  1  จำนวนและการดำเนินงาน  
สาระที่  2  การวัด
สาระที่  3  เรขาคณิต  
สาระที่  4  พีชคณิต
สาระที่  5  การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
สาระที่  6  ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

ทักษะ
1.  นำเสนอการแต่งนิทาน คำคล้องจอง และปริศนาคำทายคณิตศาสตร์
2.การวิเคราะห์จากการนำเสนอ


                       

วิธีการสอน

1.การแนะนำตัวเอง
2.การยกตัวอย่าง
3.การระดมความคิด
4.อาจารย์มีการใช้คำถาม ให้ข้อเสนอแนะ



     
ประเมิน

สภาพห้องเรียน
เทคโนโลยีภายในห้องเรียนพร้อมต่อการใช้งาน เก้าอี้เพียงพอต่อจำนวนนักศึกษา 

ตนเอง
เข้าชั้นเรียนตรงเวลาตั้งใจเรียน แสดงความคิดเห็น และจดบันทึก สรุปเนื้อหาที่อาจารย์สอน

เพื่อน
เข้าชั้นเรียนตรงเวลา แสดงความคิดเห็น และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม

อาจารย์
อาจารย์ บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม การแต่งกายเรียบร้อย พูดเสียงดังชัดถ้อยชัดคำ เข้าสอนตรงเวลา และเปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม แสดงความคิดเห็น
บันทึกครั้งที่ 9 วันศุกร์ที่ 13 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทิน

  เนื้อหาที่เรียน


         
           เพิ่มเติมการนำเสนอรูปแบบการจัดประสบการณ์

   การสอนแบบสมองเป็นฐาน



ตัวอย่างการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนโดยใช้สมองเป็นฐาน

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน (Brain  Based  Learning)
      
     1. จดจ่อในสิ่งเดียวกัน
     2. การลงมือกระทำด้วยตนเอง

การสอนแบบมอนเตสซอรี่


ตัวอย่างการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนตามแนวคิดของมอนเตสเซอรี่

กรอบมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัย
       สาระที่ 2 การวัด 
            - การวัดความยาวของสิ่งต่างๆ
           - การวัดความยาว  ความสูง ของสิ่งของต่างๆ อาจใช้เครื่องมือที่มีหน่วยไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
            - ยาวกว่า สั้นกว่า สูงกว่า ยาวเท่ากัน สูงเท่ากัน เป็นคำที่ใช้ในการเปรียบเทียบความยาวความสูงของสิ่งของต่าๆ
             -การเรียงลำดับความยาวความสูง 
            - การชั่งน้ำหนักของสิ่งต่างๆ อาจใช้เครื่องวัดชั่งน้ำหนักที่มีหน่วยไม่ใช่มาตรฐาน
           - การเรียงลำดับน้ำหนักของสิ่งต่างๆ อาจเรียงจากน้อย ไปมาก
            - การตวงของสิ่งต่างๆ อาจใช้เครื่องมือตวงที่มีหน่วยไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
            - ปริมาตรมากกว่า ปริมาตรน้อยกว่า ปริมาตรเท่ากัน เป็นคำที่ใช้ในการเปรียบเทียบปริมาตรของสิ่งต่างๆ
           - เงินเหรียญและธนบัตร 
           - ตัวเลขที่อยู่บนธนบัตร บอกค่าของธนบัตรแต่ละฉบับ
           -เวลาแต่ละวันแบ่งเป็น 2 ช่วง คือ กลางวันและกลางคืน
           -  เช้า เที่ยง เย็น เมื่อวาน วันนี้ พรุ่งนี้ เป็นคำที่ใช้บอกช่วงเวลาต่างๆ
            -1 สัปดาห์ มี 7 

       สาระที่ 3 เรขาคณิต
            1. ข้างบน ข้างล่าง ข้างใน ข้างนอก ข้างหลัง ระหว่าง ข้างซ้าย ข้างขวา ใกล้ ไกล เป็นคำที่ใช้บอกตำแหน่ง ระยะ ทิศทางของสิ่งต่างๆ
            2. การจำแนกทรงกลม ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก กรวย ทรงกระบอก และรูปวงกลม รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม ใช้วิธีพิจารณารูปร่างและขอบของรูป

       สาระที่ 4 พีชคณิต
            แบบรูปเป็นความสัมพันธ์

       สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น 
            1. การเก็บรวบรวมข้อมูล
            2. แผนภูมิรูปภาพเป็นการนำเสนอข้อมูลอย่างง่าย 

        สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
             ใช้นิทานหรือเพลงในการสอนบวกลบจำนวน

ทักษะ

การนำเสนอวิจัยหน้าชั้นเรียนของเพื่อนเลขที่ 22 - 24
   
    เลขที่ 22  เรื่อง การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
                

    เลขที่ 24  เรื่อง พัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้เพลง
                  
กิจกรรมในห้องเรียน การสำรวจผลไม้ที่เด็กชอบ
   



       

ตารางจากนางสาวรัตนาภรณ์ คงกะพันธ์



                                      เพลง                        
             มาลีเดินมาเห็นหมาตัวใหญ่
                 มาลีตกใจร้องให้กลัวหมา
           เห็นแมวตัวน้อยค่อยๆก้าวมา
                     แมวเล็กกว่าหมามาลีไม่กลัว





วิธีการสอน

       อาจารย์มีการใช้คำถาม ให้ข้อเสนอแนะ อธิบายเพิ่มเติมจากการนำเสนอของนักศึกษา และใช้สื่อ power point ในการบรรยาย ทบทวนความรู้เดิม


ประเมิน

สภาพห้องเรียน
เทคโนโลยีภายในห้องเรียนพร้อมต่อการใช้งาน เก้าอี้เพียงพอต่อจำนวนนักศึกษา อากาศภายในห้องถ่ายเท

ตนเอง
เข้าชั้นเรียนตรงเวลาตั้งใจเรียน แสดงความคิดเห็น และจดบันทึก สรุปเนื้อหาที่อาจารย์สอน

เพื่อน
เข้าชั้นเรียนตรงเวลา แสดงความคิดเห็น และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม

อาจารย์
อาจารย์บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม การแต่งกายเรียบร้อย พูดเสียงดังชัดถ้อยชัดคำ เข้าสอนตรงเวลา 
บันทึกครั้งที่ 8 วันศุกร์ที่ 06 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทิน

เนื้อหาที่เรียน

     -รูปแบบการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย
     -นำเสนอการสอนแบบโครงการ
               
การสอนแบบโครงการ
การจัดการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่งซึ่งให้ความสำคัญกับเด็ก ส่งเสริมให้เด็กแสวงหาคำตอบจากการเรียนเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างลุ่มลึกเพื่อสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง โดยที่เด็กหรือครูร่วมกันกำหนดเรื่องที่ต้องการเรียนรู้ แล้วดำเนินการแสวงหาความรู้ด้วยกระบวนการแก้ปัญหา โดยครูเป็นผู้อำนวยความสะดวกให้เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงและจากแหล่งเรียนรู้
จุดมุ่งหมายในการสอนแบบโครงการ
         1.พัฒนาความคิดและให้เด็กลงมือปฎิบัติ
          2. พัฒนากระบวนการเรียนรู้
          3. สามารถแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง
          4. เด็กเห็นคุณค่าในตนเอง
ลักษณะของโครงการ
  • ระยะที่ 1 เริ่มต้นโครงการ เด็กจะร่วมกันคิดเรื่องที่สนใจ
  • ระยะที่ 2 ระยะวางแผนโครงการ เป็นช่วงเวลาที่กำหนดจุดประสงค์ว่าต้องการเรียนรู้อะไร กำหนดขอบเขตเนื้อหา ระยะเวลาและวิธีการศึกษา
  • ระยะที่ 3 ดำเนินโครงการตามที่กำหนดไว้ ที่เน้นระบวนการแก้ปัญหา จัดเป็นหัวใจของการสอนแบบโครงการ เพราะเด็กจะได้รับข้อมูลใหม่จากประสบการณ์ตรงหรือเป็นแหล่งข้อมูลพื้นฐาน






ประโยชน์
  • ด็กจะเห็นคุณค่าของตนเอง เป็นแนวทางให้เด็กพึ่งพาตนเองได้
  • ส่งเสริมให้เด็กมีโอกาสที่จะประยุกต์ใช้ทักษะที่มีอยู่
  • เด็กเกิดแรงจูงใจภายในและความสามารถที่เกิดจากตัวเด็กเองในงานและกิจกรรมที่ทำ
  • เด็กรู้จักตัดสินใจว่าควรทำอะไร และผู้ใหญ่ยอมรับในความต้องการของเด็ก
  • เด็กสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง อย่างมีความสุข สนุกสนานเพราะเด็กได้เรียนในสิ่งที่ตนเองสนใจ รู้จัก
  • ประยุกต์ใช้ความรู้









การจัดประสบการณ์แบบสมองเป็นฐาน
การใช้สมองเป็นฐานเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้ 
                    หลักการสำคัญ
  1. -Uniqueness สมองของแต่ละคนมีความเฉพาะของตน
  2. -ภาวะเครียด และอันตรายต่างๆ จะมีผลหยุดยั้ง สกัดกั้น การเรียนรู้ รวมไปถึงการทำลายเซลสมองด้วย
  3. -อารมณ์ความรู้สึกมีความสำคัญมากต่อการเรียนรู้ เพราะมันมีอิทธิพลในการสร้างแรงจูงใจ สมาธิ สุขภาพ การเรียนรู้ การตีความและการทำความเข้าใจ และ ความทรงจำ
  4. -ข้อมูลถูกเก็บและนำออกมาใช้ โดยกระบวนการความทรงจำหลายๆแบบ และความเชื่อมโยงของระบบประสาทหลายระบบในสมอง
  5. -การเรียนรู้ทุกชนิดอยู่บนพื้นฐานของ “จิตใจ-ร่างกาย” การเคลื่อนไหว อาหาร วงจรความสนใจ/สติ/สมาธิ ยาและสารเคมี ล้วนมีผลสำคัญต่อการกระตุ้นหรือขัดขวางการเรียนรู้
  6. -สมองเป็นอวัยวะที่ซับซ้อนและปรับตัวตลอดเวลา การจะเหนี่ยวนำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ต้องการระบบที่ซับซ้อน
  7. -รูปแบบและโครงสร้างต่างๆจะกระตุ้นและจัดระบบความเข้าใจของเรา – ความฉลาดคือความสามารถในการรับรู้ เก็บ จัดระบบ และสร้างข้อมูลต่างๆที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้ประโยชน์
  8. -Brain is meaning driven “ความหมาย” กระตุ้นความสนใจของสมองมากกว่า เนื้อหาของข้อมูลหรือข่าวสาร
  9. การนำไปใช้
  10. ควรให้ความสนใจต่อตัวเด็กเป็นรายบุคคลในระหว่างที่เด็กเล่นรวมกันเป็นกลุ่ม จะกระตุ้นให้เด็กรื้อฟื้นความทรงจำในอดีต เข้ามาเชื่อมโยงกับสิ่งที่พบเห็นในปัจจุบัน ช่วยกระตุ้นการเชื่อมโยงของสมองที่จะเรียนรู้จากความทรงจำเดิม ทบเข้ากับความทรงจำใหม่


  11. การจัดประสบการณ์ แบบSTEM
    STEM Education มีเช่น การสังเกต สา รวจ สืบคน้ คาดคะเน วเิคราะห์สังเคราะห์ ประเมินค่า ต้งัสมมติฐาน พยากรณ์ทดลองแกป้ ัญหาและประดิษฐ์เป็นตน้ ท้งัน้ีเราจะเห็นวา่ โรงเรียนอนุบาล ที่จัดการเรียนรู้ให้เด็กแบบเตรียมความพร้อม ผา่ นการเล่น กิจกรรม และศิลปะน้นั ไดจ้ดัใหเ้ด็กมีประสบการณ์ และเสริมสร้างทักษะของ STEM อยแู่ ลว้ เช่น กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วทิยาศาสตอ์ าจจะเป็นกิจกรรมที่เด็ก สา รวจธรรมชาติรอบตวัท้งัสิ่งมีชีวติและไม่มีชีวติ กิจกรรมดา้นส่งเสริมการเรียนรู้
    การจัดประสบการณ์ แบบมอนเตสเชอรี่

    การจัดการเรียนการสอนแบบมอนเตสซอรี่ เป็นการนำวิธีการสอนเด็กที่มีพัฒนาการทางสติปัญญาล่าช้าที่ประสบความสำเร็จมาใช้กับเด็กปฐมวัย โดยให้เด็กจับต้องสื่อหรือเล่นอุปกรณ์ต่างๆ ที่เลือกเอง ทำให้เด็กเรียนรู้อย่างมีสมาธิและสร้างสรรค์ เด็กสามารถประสมคำ อ่านคำและฝึกเขียนหนังสือได้ด้วยตนเองตามความสนใจตั้งแต่อายุ 4-5 ปี
      นำเสนอบทความ









    เลขที่ 20  เรื่อง คณิตศาสตร์ฐมวัย เรียนอย่างไรให้สนุก + เข้าใจ
                   



            เพลง บวก - ลบ                                          
                                       บ้านฉันมีแก้วน้ำสี่ใบ              ครูให้อีกใบนะเธอ
                                  มารวมกันนับดีดีซิเออ                 ดูซิเธอรวมกันได้เจ็ดใบ
                                  บ้านฉันมีแก้วน้ำใจใบ                 หายไปสามใบนะเธอ
                                  ฉันหาแก้วแล้วไม่เจอ                 ดูซิเออเหลือเพียงสี่ใบ

เพลง เท่ากัน - ไม่เท่ากัน                                  
                                                   ช้างมีสี่ขา               ม้ามีสี่ขา
คนเรานั้นหนา               สองขา ต่างกัน
                                                   ช้างม้า มี                สี่ขา เท่ากับ (ซ้ำ)
                                              แต่กับคนนั้น                ไม่เท่ากันเอย (ซ้ำ)

เพลง ขวดห้าใบ                                        
                                                   ขวดห้าใบวางอยู่บนกำแพง (ซ้ำ)
                                                  เราเอาหินปาไปให้มันกลิ้งตกลงมา
                                      คงเหนื่อยขวดกี่ใบวางอยู่บนกำแพง ลดลงเหลือสี่
                              (ลดจำนวนขวดลงไปตามลำดับ จนกระทั่งเหลือขวดหนึ่งใบ)
                                 ไม่มีขวดเหลือเลยวางอยู่บนกำแพง จะทำอย่างไรกันดี


เพลง จับปู                                                
                                       หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า         จับปูม้ามาได้หนึ่งตัว
                                       หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า         ปูมันหนีบฉันต้องส่ายหัว
                                       ฉันกลัวฉันกลัวฉันกลัว       ปูมันหนีบฉันที่หัวแม่มือ  

กิจกรรมในห้องเรียน
ตารางจากนางสาวรัตนาภรณ์ คงกะพันธ์
วิธีการสอน

       อาจารย์มีการใช้คำถาม ให้ข้อเสนอแนะ อธิบายเพิ่มเติมจากการนำเสนอของนักศึกษา และใช้สื่อ power point ในการบรรยาย ทบทวนความรู้เดิม


ประเมิน

สภาพห้องเรียน
เทคโนโลยีภายในห้องเรียนพร้อมต่อการใช้งาน เก้าอี้เพียงพอต่อจำนวนนักศึกษา อากาศภาพในห้องถ่ายเท

ตนเอง
เข้าชั้นเรียนตรงเวลา และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

เพื่อน
เข้าชั้นเรียนตรงเวลา มีความสนใจและตั้งใจฟังเพื่อนกลุ่มอื่นนำเสนอ มีการแสดงความคิดเห็น และให้ความร่วมมือ

อาจารย์
อาจารย์บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม การแต่งกายเรียบร้อย  พูดเสียงดังชัดถ้อยชัดคำ เข้าสอนตรงเวลา และเปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม แสดงความคิดเห็น
บันทึกครั้งที่ 7 วันศุกร์ที่ 20 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทิน

เนื้อหาที่เรียน

         -รูปแบบการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย
          การจัดประสบการณ์ แบบบูรณาการ
          การจัดประสบการณ์ แบบโคงการ
          การจัดประสบการ การจัดประสบการณ์ แบบ STEM แบบสมองเป็นฐาน
          การจัดประสบการณ์ แบบมอนเตสซอรี่
          การจัดประสบการณ์ แบบเดินเรื่อง

นำเสนอโทรทัศน์ครูเลขที่16-17
เลขที่16เรื่อง ผลไม้แสนสุข สรุปการวัด รสชาติ=ชิมรส ได้เรื่องของรูปทรง
 เลขที่ 17 เรื่อง กิจกรรม 5 ประสาทสัมผัส สรุป การเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ตา หู จมูก กาย  ลิ้น


วิธีการสอน
 วันนี้อาจารย์ใช้การสอนโดยใช้ ตารางเมตทริกซ์ ให้เด็กได้เรียนรู้ 
     -ความสัมพันธ์กับการอ่าน
     - ลำดับ ก่อน-หลัง

              การจัดประสบการณ์
 - การเรียนรู้โดยการสังเกต หรือการเลียนแบบ (Observational Learning) ตามแนวคิดของ แบนดูรา
  -  การสร้างความรู้โดยผู้เรียน (Constructivismของ เพียตเจต์ บรูเนอร์ ไวก๊อตสกี้


ความสำคัญ    
  
1.ในชีวิตประจำวันสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นจะต้องเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กันกับศษสตร์ต่างๆผสมผสานกันทำให้ผู้เรียนรู้ศาสตร์สามารถนำความรู้มาใช้ในการแก้ปัญหาได้
2.การจัดกิจกรรมแบบบูรณาการทำให้เชื่อมโยงถ่ายโอนประสบการณ์ของศาสตร์เข้าด้วยกัน
3.การจัดกิจกรรมแบบบูรณาการช่วยลดความซ้ำซ้อนของเนื้อหารายวิชาต่างๆ
4..การจัดกิจกรรมแบบบูรณาการจะตอบสนองต่อความสามารถในหลายๆด้าน ช่วยสร้างความรู้ ทักษะ เจคติ
5.ารจัดกิจกรรมแบบบูรณาสอดคล้องกับทฤษฎีการสร้างความรู้โดยผู้เรียน (Constructivism


            การนำไปใช้ในการจัดประสบการณ์คณิตศษสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
           เนื้อหาในการเรียน
                    เด็ก     ต้อง     ควร     อยาก     รู้อะไร  สาระสำคัญ
                    เด็ก     ต้อง     ควร     อยาก     ทำอะไร = การปฏิบัติ   ทักษะ ประสบการณ์

        
เพลง 
                                               นี่คือนิ้วมือของฉัน            มือฉันนั้นมี 10 นิ้ว
                                               มือซ้ายฉันมี 5 นิ้ว             มือขวาก็มี 5 นิ้ว
                                               นับ 1 2 3 4 5                     นับต่อมา 6 7 8 9 10
                                               นับนิ้วนั้นจงอย่ารีบ           นับ 1 ถึง 10 จำให้ขึ้นใจ

                               






              ประเมินตนเอง

สภาพห้องเรียน


เทคโนโลยีภายในห้องเรียนพร้อมต่อการใช้งาน เก้าอี้เพียงพอต่อจำนวนนักศึกษา อากาศถ่ายเทได้สะดวก

ตนเอง


เข้าชั้นเรียนตรงเวลา จดบันทึก สรุปความจากอาจารย์บรรยาย แนะนำ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น


เพื่อน

มีความตั้งใจในการเรียนและมีความตั้งใจในการทำงาน เข้าเรียนตรงเวลา

อาจารย์

อาจารย์มีเทคนิคแปลกใหม่ในการสอนในแต่ละครั้งในการเรียน อาจารย์มีความเป็นกันเองในการสอน